• นัดหมายและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

มะเร็งเต้านมกับความเข้าใจผิดที่ควรต้องรู้

19 October 2021



มะเร็งเต้านมเป็นโรคมะเร็งในผู้หญิงที่พบมากเป็นอันดับ 1 ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก
จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ระบุว่า มีผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งเต้านมรายใหม่ประมาณ 20,000 คนต่อปี หรือ
55 คนต่อวัน ทั้งยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ด้วยความน่ากลัวของมะเร็งเต้านมนี้เอง
จึงทำให้เกิดการแชร์ข้อมูลข่าวสารผิดๆ เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมออกไปเป็นวงกว้าง
เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันให้ผู้หญิงทุกคนดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง
วันนี้นายแพทย์ธนุตม์ ก้วยเจริญพานิชก์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา จังหวัดอุบลราชธานี
จะพาไปทำความเข้าใจข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกับความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม
อย่างไรก็ตาม การตรวจเช็คเต้านมด้วยตนเองควรเริ่มตรวจตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป และตรวจเป็นประจำทุกเดือน
และเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป ควรเข้ารับการตรวจโดยแพทย์ร่วมกับการตรวจทางรังสีด้วยเครื่องแมมโมแกรม
(Mammogram) และอัลตราซาวนด์ (ultrasound) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อเป็นการตรวจหามะเร็งในระยะเริ่มต้น
หรือระยะก่อนลุกลามเพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิต หรืออัตราการรักษาให้หาย ถ้าก้อนที่ตรวจพบจากแมมโมแกรม
และอัลตราซาวนด์ มีลักษณะที่บ่งบอกว่ามีโอกาสเป็นมะเร็ง จึงจะทำการเจาะชิ้นเนื้อมาตรวจโดยใช้เข็ม
ซึ่งเป็นการตรวจที่คนไข้ไม่ต้องเจ็บตัวมากและไม่ทำให้เนื้องอกมีการลุกลามหรือแพร่กระจาย
โปรแกรมตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก
https://www.facebook.com/chiwamitra/photos/pcb.1377755629242177/1377768585907548

#โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา #โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง #อุบลราชธานี
“กายต้องตรงจุด ใจต้องดูแล”
ปรึกษาแนวทางการรักษาและนัดหมายแพทย์ โทร. 045-958-888
สอบถามเพิ่มเติม m.me/chiwamitra
www.chiwamitra.com
แผนที่การเดินทาง https://goo.gl/maps/eiZuEz14scdPHf996
#มะเร็งเต้านม
#แมมโมแกรม
#ตรวจสุขภาพประจำปี
#รักษามะเร็ง
#เคมีบำบัด
#ฉายแสง
#Oncothermia
#TargetedTherapy
#ยาพุ่งเป้า
#ภูมิคุ้มกันบำบัด
#หมอมะเร็ง
#หมอธนุตม์
#มะเร็งระยะสุดท้าย
#มะเร็งระยะแพร่กระจาย


ปรึกษาปัญหามะเร็ง
โดยไม่มีค่าใช้จ่าย